หน้าเว็บ

วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ตุ๊กตาบรู๊ซ ลี


ตุ๊กตา บรู๊ซ ลี


        บรู๊ซ ลี เป็นราชากังฟูแห่ง โลกภาพยนตร์ ที่นำศิลปะการป้องกันตัวหลายแขนงให้เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตก เขาเสียชีวิตเมื่อ twenty ก.ค. 1973 อายุ 32 ปี ส่วนสาเหตุการตายนั้นยังเป็นปริศนาและปัจจุบันทันด่วน ในเย็นวันหนึ่ง หลังจากเขาบ่นว่าปวดหัวแล้วกินยาแก้ปวดก่อนนอนพัก เขาก็ไม่ฟื้นขึ้นมาอีกเลย โดยสมองของเขาได้รับการเปิดเผยว่าบวมขึ้นกว่าขนาดปกติถึง a hundred and thirtieth เขาเสียชีวิตก่อนการฉายผลงานเรื่องสุดท้าย Enter the Dragon เพียงแค่เดือนเดียว
ตุ๊กตา


บรู๊ซ ลี (Bruce Lee)
หรือ หลี่ เสี่ยวหลง
(วันที่ twenty seven พฤศจิกายน ค.ศ.1940 - วันที่ twenty กรกฎาคม ค.ศ.1973)

          บรู๊ซ ลี นั้นได้เกิดที่สหรัฐอเมริกา ซานฟรานซิสโก ที่โรงพยาบาลในย่านไชนาทาวน์ ที่มลรัฐซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ในระหว่างที่พ่อของเขาพร้อมกับคณะงิ้วกวางตุ้งไปตระเวนแสดงในอเมริกา เขาจึงได้รับสัญญาติอเมริกัน นางพยาบาลจึงตั้งชื่อให้ว่า “บรูซ ลี” เพราะเรียกง่ายและฟังดู เป็นฝรั่ง จากนั้นพ่อของเขาก็พากลับฮ่องกง
ตุ๊กตาน่ารัก
         บรู๊ซ ลี ได้เริ่มเข้าสู่โลกแห่งเซลลูลอยด์ (ฟิล์ม) ตั้งแต่อายุ 6 ขวบ ในภาพยนตร์เรื่อง "The starting of the Boy" จากนั้นก็ได้เล่น หนังมาเรื่อย ๆ พอเริ่มเป็นวัยรุ่นก็เริ่มเกเร ยกพวกตีกับชาวบ้านเขาไปทั่ว เมื่อวันหนึ่งถูกรุมอัดจนเละ เขาจึงเข้าไปฝากตัวเป็นศิษย์ของ สำนักมวยวิงชุน (หย่งชุน) เขาละทิ้งโรงเรียนและหันมาเอาจริงเอาจังทางกังฟู เรียนอยู่สี่ปี ฝีมือของเขาก็เริ่มแก่กล้า จนไปมีเรื่องกับแก๊งนักเลงใหญ่แห่งฮ่องกง ลีในวัย 19 ปีจึงถูกพ่อแม่ส่งตัวขึ้นเรือไปอเมริกา เขามาทำงานที่ร้านอาหารของญาติในซานฟรานซิสโกอยู่พักหนึ่ง แล้วย้ายไปซีแอตเทิล เป็นครูสอนเต้นรำชาชาชา ซึ่งเขาเคยเป็นแชมป์ที่ฮ่องกงมาก่อน
ตุ๊กตาหมี
          จากนั้นบรู๊ซ ลี ก็ได้เริ่มเปิดสอนศิลปะป้องกันตัว(มวยหย่งชุน) จากนั้นเขาเข้าเรียนปรัชญาที่มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เรียนจบแล้วย้ายไปแคลิฟอร์เนีย ตั้งสถาบันสอนศิลปะป้องกันตัว สอนมวยจีนให้กับคนทุกชาติ วันหนึ่งก็มีผู้กำกับหนังมาเห็นฝีมือของเขาจึงชวนไปเล่นหนังทีวีชุด "The green Hornet" หนังชุดนี้มี 30 ตอน แม้จะไม่ดังมาก แต่ก็ทำให้ลีเริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่นยิ่งกว่าดารานำเสียอีก จากนั้นก็ได้เล่นหนังต่อมาอีกหลายเรื่อง ก่อนจะกลับไปสอนกังฟูต่อ หลังจากผิดหวังในฮอลลีวูด
ตุ๊กตาหมี
          บรู๊ซ ลี ได้กลับฮ่องกงอีกครั้งในปี ค.ศ.1971 พบกับ เรย์มอนด์ เชา (Raymond Chow) ผู้ผลิตหนังในฮ่องกง เปิดฉากด้วย "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง" (The big Boss) จากนั้นก็ต่อด้วย "ไอ้หนุ่ม ซินตึ๊งล้างแค้น" (Fist of Fury) วาด ลวดลายพายุหมัดและเท้าแบบที่ผู้ชมไม่เคยเห็นมาก่อน เขาได้ประกาศศักดาของคนเอเชีย เตะฝรั่งตัวมหึมาคว่ำคาเท้า ส่งผลให้ลีกลายเป็นฮีโร่ของคนทั่วฮ่องกงและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หนังของเขาทำรายได้มหาศาล และเป็นการเปิดศักราชใหม่ของหนังกังฟู

          หลังจากนั้นเขาได้ก่อตั้งบริษัทหนังของตัวเอง ลงทุนไปถ่ายทำที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี คือเรื่อง "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง บุกกรุงโรม" (The manner of the Dragon) กลายเป็นหนังที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดของเขา ชื่อเสียงของเขาโด่งดังไปถึงฮอลลีวูด เรื่องต่อมาจึงได้ทุนจากอเมริกาคือ "ไอ้หนุ่มซินตึ๊ง มังกรประจัญบาน" (Enter the Dragon) หนังทำรายได้ถล่มทลายกว่าสองร้อยล้านเหรียญ กลายเป็นหนังกังฟูฮ่องกงเรื่องแรกที่สร้างปรากฏการณ์ใหญ่ให้แก่วงการ ภาพยนตร์เอเชีย อีกทั้งยังก่อให้เกิดกระแสคลั่งไคล้ไอ้หนุ่มซินตึ๊งไปทั่วโลก นอกจากนี้เขายังใส่ปรัชญาเข้าไปในศิลปะการต่อสู้ถึง twenty six ชนิดและตั้งชื่อว่า "จิตคุนโด" (Jeet Kune Do) ในปี 1997 นิตยสารเอ็มไพร์ (อังกฤษ) จัดเขาเป็นหนึ่งใน 100 ดารานำตลอดกาล
ของขวัญ
เกมส์


          บรู๊ซ ลี ได้เสียชีวิต เมื่อวันที่ twenty ก.ค. ค.ศ.1973  ในอายุวัยเพียง 32 ปี ซึ่งในเวลานั้นเขากำลังดัง และทำงานอย่างหนัก โดยไม่ยอมพักผ่อนและดูแลร่างกาย  บ่อยครั้งเขาถึงกับไม่กินข้าว ในที่สุดเขาก็มีคนพบร่างไร้สติของไอ้หนุ่มซินตึ๊งที่บ้านพักของดาราสาว เบ็ตตี ติงเพ่ย (Betty Ting Pei) ในฮ่องกง เขาถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลและเสียชีวิต ช่วงแรกการเสียชีวิตเขายังเป็นปริศนา นักข่าวจึงใส่ไข่ไปต่าง ๆ นานา ว่าเขากินยาชูกำลังและเสียชีวิตขณะทำรักกับดาราสาว หรือถูกวางแผนฆาตรกรรม ต่อมาศาลและแพทย์ได้ออกแถลงอย่างเป็นทางการว่า ลีได้เสียชีวิตเพราะสมองบวมเนื่องจากแพ้ยาแก้ปวดที่ติงเพ่ยให้กินก่อนเขาจะหลับ ไป เป็นการตายโดยอุบัติเหตุไม่ใช่ฆาตกรรม

         แม้มังกรหนุ่มจะเสียชีวิตไปแล้วกว่าสี่สิบปี ลีลากังฟูของเขาก็ยังคงตราตรึงอยู่ในใจผู้ชมมาจนทุกวันนี้หนังสือพิมพ์สากล 27/02/06 เมื่อวานนี้ (26) สื่อฮ่องกงเปิด เผยรายงานของผู้เชี่ยวชาญชาวอเมริกันรายหนึ่งถึงสาเหตุการเสียชีวิตของดารา กังฟูชื่อก้องโลกแห่งยุค ‘บรู๊ซลี’ หรือหลีเสี่ยวหลง โดยเขาตั้งข้อสันนิษฐานใหม่ว่า มีความเป็นไปได้มากที่สุดที่บรู๊ซจะเสียชีวิตด้วยโรคลมบ้าหมูอย่างเฉียบพลัน เนื่องมาจากการอดนอนและความเครียด ไม่ใช่มาจากอาการแพ้ยาตามรายงานชันสูตรศพในปี ค.ศ.1973
ตุ๊กตาหมี
          ฟิลคินส์ ผู้เชี่ยวชาญแห่งสถาบันการแพทย์ชิคาโก สหรัฐอเมริกา ผู้ทำการศึกษาสาเหตุการตายของบรู๊ซลีมาหลายปีกล่าวว่า รายงานการชันสูตรศพที่สรุปเมื่อปี 1975 ว่า บรู๊ซลีเสียชีวิตด้วยสาเหตุการแพ้ยาแก้ปวด Equigesic และทำให้สมองบวมนั้นเป็นข้อวินิจฉัยที่ผิดพลาด ทั้งนี้ จากร่องรอยหลายประการทำให้ฟิลคินส์ฟันธงว่า มังกรน้อยหลีเสี่ยวหลงอาจเสียชีวิตอย่างกะทันหันด้วยอาการลมบ้าหมู ตามที่เขาเรียกว่า “sudden unexpected  death  in  epilepsy ,  SUDEP”
ตุ๊กตา
          ในรายงานของหมอฟิลคินส์ยังระบุอีกว่า โรคที่จะทำให้ราชากังฟูบรู๊ซลีเสียชีวิตในวัยหนุ่มแน่นนั้น มาจากการที่ร่างกายอ่อนเพลียเนื่องจากอดนอนและมีอาการเครียดจัด ส่งผลให้หัวใจและปอดหยุดทำงานอย่างฉับพลัน หรือเป็นอาการลมบ้าหมูฉับพลัน ซึ่งเป็นโรคที่มีการค้นพบภายหลังจากที่ดาราหนุ่มเสียชีวิตไปแล้ว twenty two ปี (1995)
ตุ๊กตาน่ารัก
          หมอฟิลคินส์ เสริมว่า จากรายงานการชันสูตรศพในขณะนั้นบอกได้ว่า ร่างกายของบรู๊ซไม่มีร่องรอยการบาดเจ็บ นอกจากกัญชาแล้วก็ไม่ตรวจพบสารพิษอื่นใด ส่วนสารประกอบในยาแก้ปวดที่บรู๊ซกินเข้าไปก็พบในปริมาณน้อยมาก ซึ่งไม่น่าเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต อย่างไรก็ตาม เขาชี้ว่า ก่อนบรู๊ซลีเสียชีวิตเขามีอาการอ่อนเพลียและกดดันอย่างมากทั้งทางร่างกายและ จิตใจ
เกมส์
          ถึงแม้ว่าในปัจจุบันยังยากที่จะสามารถอธิบายสาเหตุที่แท้จริงของการเสียชีวิตของลี จากโรคดังกล่าว แต่ผู้เชี่ยวชาญชี้ว่า โรคนี้มักเกิดกับเพศชายที่อยู่ในวัยหนุ่ม อายุระหว่าง 20-40 ปี และเกี่ยวพันกับการอดนอน สมองเติบโตช้า มีอาการทางประสาท หรือระบบทางเดินหายใจขัดข้อง นิยมเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และใช้ยาพร่ำเพรื่อ
ตุ๊กตา
          ทั้งนี้ ในรายงานยังเผยว่า โรงพยาบาลประสาทสมองและศัลยกรรมประสาทสมองแห่งลอนดอนเคยทำการศึกษาวิจัย เกี่ยวกับผู้ป่วยโรคลมบ้าหมู พบว่า จังหวะการเต้นที่ผิดปรกติของหัวใจอาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคนี้ โดยอาจมีปัจจัยแฝงที่ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างกะทันหันคือการเกิดหัวใจวาย นอกจากนี้ ทุกๆปีโรคดังกล่าวยังคร่าชีวิตประชาชนในกลุ่มประเทศยุโรปเฉลี่ย 4,000 คน ส่วนในประเทศสหรัฐอเมริกามีสัดส่วนของผู้เสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าว 7-17% ของอัตราการตายทั้งหมด

เครดิต          http://www.tooktaall.com
อ้างถึง          http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=thaidollsall&group=15

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น